ปัญหาสถานีชาร์จไม่พอ!? เรื่องจริงหรือแค่ปั่นข่าว? รถ EV โตเร็วขนาดนี้ ทำไมสถานีถึงโตช้ากว่า?

         ซึ่งในวันนี้จะมาพูดคุยในเรื่องของความเพียงพอสถานีชาร์จไฟฟ้าโดยเริ่มจากคุณแอร์ จากช่อง Airsri EV Channelc ผู้ให้บริการของ EleXa และ อีกท่านหนึ่งที่เป็นผู้ให้บริการสถานีชาร์จบริเวณในห้างหรือตามคอนโนคือ คุณนิค จากช่อง Nics Evolt ทั้ง 2 ท่านคือผู้ให้บริการสถานีชาร์จระดับท็อปแบรนด์ที่ต้องมีแอปพลิเคชันที่ต้องมีในมือมิฉะนั้นจะเดินทางไปที่ไหนยากขึ้น

         ในส่วนของปีที่แล้วรถยนต์ไฟฟ้ามีอัตราการเติบโตที่อยู่ในปริมาณที่สูง ถ้ากล่าวถึงให้บริการสถานีชาร์จไฟฟ้าในมุ่งมองของตัวเลขจากสื่อมีอัตราการเติบโตขึ้น 600 – 700 เท่า ซึ่งในส่วนของผู้ให้บริการได้มีการขยายให้บริการ
เช่นกัน แต่ยังไม่เทียบเท่ากับปริมาณของรถยนต์ไฟฟ้า

         ส่วนเรื่องมุ่งมองที่มีต่อการเติบโตอย่างรวดเร็วขึ้นในเรื่องของเทคโนโลยีด้านสถานีชาร์จไฟฟ้าอยู่ในธุรกิจนี้
มาร่วม 5 ปี สำหรับทั้งของคุณนิคและทีมงานของคุณแอร์ ในช่วงปีที่ผ่านมามีการมองถึงความเติบโตอย่างติดเนื่อง
แต่ในตอนนี้อัตราการเติบโตไปในทิศทางแบบรวดเร็วมากจาก 700% ค่อย ๆ ลำดับขั้นขึ้นไป จึงมองแล้วว่าคนไทยที่ความสนใจและมีความต้องการในการทดลองใช้เทคโนโลยีนี้

         ซึ่งประเทศจีนมองว่าประเทศไทยเป็นประเทศแรก ๆ ขยายทั้งฐานการผลิตตามการจำหน่ายรถยนต์ของทางประเทศจีน จึงทำให้เป็นที่มีของการอัตราการเติบโตแบบก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในนี้มีการคาดไว้ที่มากกว่า 2 เท่าของ
ปีที่แล้วประชากรในส่วนของผู้ใช้รถยนต์ไฟฟ้ามีการเติบโตแบบก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว

         ซึ่งมาว่ากันด้วยในเรื่องของสถานีชาร์จที่ไม่เพียงพอ อาทิ ช่วงเวลาเทศกาลปีใหม่
ต้อง Recap ก่อนว่าเรื่องของสถานีการชาร์จมีใคร ๆ คิดว่ามีไม่กี่เจ้า Recap เรื่องสถานารชาร์จผู้ให้บริการมีกี่แหล่งและมองที่ Foot print ของสถานีชาร์จในประเทศไทยที่มีน้อยไปแนวความคิดจากบุคคลที่ยังไม่เคยใช้หรือยังไม่ค่อยมีความรู้ด้านนี้

ความคิดเรื่องของสถานีชาร์จ

              1. สถานีชาร์จที่ใช้มีจำนวนที่มากเพียงพอ

              2. สถานี่ชาร์จมีจำนวนน้อยต้องจองเกิดการรอเป็นในบ้างช่วงเวลา

              3. สถานีชาร์จมีจุดให้บริการแหล่งอีกนอกที่ปั๊มปตท.

         แล้วมาถึงส่วนของ 600 เท่า เป็นข้อมูลจากกรมขนส่งทางบกทางฝั่งรถยนต์ไฟฟ้า
และส่วนของผู้ให้บริการสถานีชาร์จในประเทศมีทั้งหมดมีถึงประมาณ 20 ราย อาทิ

              1. ปั๊มปตท. PTT EV Station

              2. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค PEA VOLTA

              3. EVOLT

              4. MG SUPER CHARGE

              5. ALTERVIM

              6. Tesla

          ซึ่งในวงการจะถูกเรียกว่าชาร์จพ้อยโอเปอเรเตอร์อาจให้ความรู้สึกว่าจุดชาร์จมีน้อยหรือรู้จักอยู่เพียง
1 – 2 ค่าย
ในเวลานี้มีผู้ให้บริการเป็นจำนวนมากขึ้นและนี้เป็นตัวเลขฐานข้อมูลจาก EVAT หรือ
สมาคมยานยนต์ไฟฟ้า ส่วนของข้อมูลในช่วงประมาณเดือนกันยายนเพื่อให้ทราบของ
แต่ละผู้ให้บริการมีอยู่ทั้งหมดกี่แหล่ง

         และในส่วนนี้ คือ ภาพประกอบของผู้ให้บริการหลักและที่เป็นผู้ให้บริการเจ้าใหญ่แสดงถึงสถานีชาร์จทั้งหมด
ทุกค่ายมองแล้วว่าในตอนนี้มีจำนวนที่ครอบคลุมไปทุกจังหวัด อาทิ จังหวัด ละ 1 – 2 ตู้ แล้วแต่จังหวัด จังหวัดที่มี
ขนาดใหญ่ผู้เดินทางผ่านจังหวัดนั้น ๆ บ่อยจะมีตู้ชาร์จให้บริการเป็นจำนวนมากกว่า ซึ่งทุกวันนี้จึงไม่จำเป็นหาสถานี
ตามปั๊มน้ำมันอีกต่อไป เพราะตามศูนย์การค้าหรือในคอมมูนิตี้ มอลล์ก็มีสถานีชาร์จในแต่ละที่ด้วยในตอนนี้มีจำนวน
ใกล้เคียง 3,000 แห่ง ช่วงสิ้นปีเป็นจำนวนของสถานีชาร์จ อาทิ

              1. PTT EV Station มีจำนวน 411 สาขา

              2. EVOLT มีจำนวน 200 สาขาขึ้นไป

              3. EGAT มีจำนวน 180 สาขา

         ซึ่งนี้คือภาพในปัจจุบันว่ามีเพียงพอแต่ควรเป็นครอบคลุมทุกจังหวัดยกเว้นในช่วงเทศกาลที่จะมีปัญหาใน
ด้านการจองคิว,รอคิวเกิดขึ้น ในเรื่องของสถานีชาร์จเทียบกับยุครถยนต์น้ำมัน เรียกง่าย ๆ ว่าผู้อัดบรรจุไฟหรือ
คือ สถานีชาร์จ

ส่วนของสถานีพลังงาน

              1. พลังงานดั้งเดิม ปั๊มน้ำมัน

              2. การไฟฟ้าผู้ผลิตไฟฟ้าที่เข้ามาทำเอง

              3. บริษัทเอกชน

         ซึ่งช่วงเฟสแรกคือการปูพรมที่เน้นการบริการอย่างทั่วถึงส่วนทางเอกชนที่ลงในทั้งคอมมูนิตี้และสถานีชาร์จภายในห้างสรรพสินค้า มุ่งมองแรกในการที่เอกชนเข้ามาลงทุนทั้งที่รถยนต์ไฟฟ้ายังไม่ที่นิยมล้วนมีความเสี่ยงในเรื่องต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก เรื่องการลงทุนภาครัฐควรมีการนำร่องเพื่อในตลาดมีเกิดการ Demand Supply ขึ้นมาก่อน

         ในส่วนของ Operator ที่เรียกว่าชาร์จไฟส์โอเปอร์เรเตอร์ หรือ CPO ของ Operator 

บ้างผู้ให้บริการด้านของการมีสถานีที่เพียงพอ

ไม่ใช่ช่วงเทศกาล

         เมื่อใช้บริการให้ความรู้สึกถึงความเพียงพอของสถานีชาร์จ เพราะในเฟสแรกมีการกระจายให้มีการเข้าไปในแบบถ้วนถึง แต่ละผู้ให้บริการต่างกระจายในพื้นที่คิดว่าสามารถเข้าถึงง่ายมองว่าเป็นสไตล์จิกโลเคชั่นเป็นของ
ตนเอง แต่ถึงอย่างนั้นผู้ให้บริการก็ทำให้เกิดการกระจายที่ครอบคลุม ในช่วงที่ไม่ใช่เทศกาลตามสถิติ 80%
ผู้มาใช้บริการชาร์จ เป็นจำนวน 20% ฃองรถยนต์ไฟฟ้าที่มีอยู่ในปัจจุบันและเพิ่มขึ้นมาเกินกว่า 90,000 คัน
ในช่วงปีนี้เข้าอีก 70,000 คัน คาดการณ์ว่ามีสถานีชาร์จที่เพียงพอ ซึ่งจะมีความหนาแน่นในช่วงเช้าหรือ
ในช่วงกลางคืนหลังเลิกงาน

ช่วงเทศกาล

         ซึ่งจะเกิดการแย่งเพื่อจองและมีการต่อคิวขึ้นถ้าเป็นในช่วงเทศกาลจะมองอย่างชัดเจนว่าสถานีชาร์จมี
ไม่เพียงพอ ซึ่งต้องมีการบาลานซ์การลงทุนเพื่อให้ทั้ง 2 ส่วนดำเนินการต่อ จึงเป็นโจทย์ที่สำคัญของ Operator
เพื่อรองรับความพึ่งพอใจของผู้ที่มาใช้บริการที่ทำให้ตลาดเติบโตขึ้น

         มาถึงส่วนของ Operator ทำหน้าที่ Support Infrastructure ค่อยSupport ให้ EV Market มีการเติบโตที่แข็งแรงในประเทศไทย ซึ่ง EV Market ของประเทศเมื่อเทียบสัดส่วนกันกับ Southeast Asia มียอดจดทะเบียน
รถยนต์ไฟฟ้าถึง 80% ของทั้ง Southeast Asia และประเทศมีการวางมาตรฐาน, กฎเกณฑ์, เรื่องความปลอยภัย
ที่ดีมากกว่าประเทศอื่น ๆ
         ในด้านความพร้อมประเทศไทยจึงมีมากกว่า แต่ช่วงปีที่ผ่านมารถยนต์ไฟฟ้ามีอัตราการเติบโตที่รวดเร็ว
Poprik Station
ที่เป็น Operator เกิดการเติบโตตามไม่ทันจึงต้อง Catch Up เพื่อที่จะเติบโตให้ทันกับจำนวน
รถยนต์ไฟฟ้า

         แล้วมาในส่วนของเรื่องของตัวเลขที่เหมาะสมซึ่งมีการหาข้อมูลกันค่อนข้างมากเปรียบจำนวนรถยนต์ไฟฟ้า
ควรมี 10 ต่อ 1 หรือ รถยนต์ไฟฟ้า 10 คัน ต่อ 1 สถานี เป็นค่าเฉลี่ยที่ความเหมาะสมที่สุดในประเทศไทย
เพราะประเทศอื่นมีปัจจัยแวดล้อมที่ต่างจากประเทศไทย
         อาทิ ลักษณะของการใช้งานมีบ้าน, ตึก, คอนโดมีเนียม เป็นจำนวนมาก ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการใช้
แต่ในส่วนของประเทศไทย คือ 10 ต่อ 1 และมียอดจดทะเบียนทั้งแบบ PHEV และ BEV มีการประมาณอยู่ที่ 140,000 คัน ซึ่งในขณะนี้มีสเตชั่นหัวจ่ายที่มี location จำนวนมากกว่า 2,000 location มีหัวจ่ายอยู่ประมาณ
9,000 หัวจ่าย มีสัดส่วนเท่ากับ 16 ต่อ 1 เทียบกับรถยนต์ไฟฟ้า 16 ต่อ 1 สถานีชาร์จ เพียง 1 หัวจ่าย

         ซึ่งจำต้องมีการเพิ่มสถานีชาร์จขึ้นไปอีกเป็นเท่าตัวให้ถึง Magic Number
ที่มีการคาดการณ์ว่าประชากรภายในประเทศไทยจะเพียงพอใจและมีการใช้งานได้อย่างสะดวก
แต่ในส่วนนี้ตัวเลขยังมีอัตราขึ้นลงอยู่มาจากการที่มียอดจำหน่ายมากสถานีชาร์จยังเติบโตไม่ทัน
เพราะฉะนั้นอัตราส่วนรถยนต์ไฟฟ้า 10 คัน ต่อ 1 สถานีชาร์ จึงเป็นสัดส่วนที่เหมาะสมในประเทศไทย
และเป็นค่าเฉลี่ยของสถานีชาร์จอยู่ที่ 10 – 12 คัน / 1 สถานีชาร์จ จะมีจำนวนที่มากขึ้นหรือน้อยลงจะอยู่ที่พฤติกรรมของแต่ละบุคคลเรื่องของภูมิประเทศและตามลักษณะของการอยู่อาศัย

          ซึ่งในตอนนี้ทั่วโลกค่าเฉลี่ยรถยนต์ไฟฟ้า 10 คัน ต่อ 1 สถานีชาร์จ จึงมองว่าเป็น Stat
ที่มีความมีเหมาะสม ในส่วนของประเทศไทย ณ ตอนนนี้ รถยนต์ไฟฟ้า 20 คัน ต่อ 1 สถานีชาร์จ
แต่ในส่วนของทาง Operator มีการเก็บข้อมูลโดยการนำข้อมูลของปี 2022 มาเทียบกับปี 2023
ทาง EVAT หรือ สมาคมยานยนต์ไฟฟ้า เป็นผู้จัดเก็บข้อมูลทำให้ผู้คนมองว่าจำนวนของรถยนต์ไฟฟ้า
และจำนวน Station ด้านความมั่นต่าง ๆ ทาง EVAT ทำออกมาดีและดีที่สุดเพราะมีการอัพเดทข้อมูลตลอดเวลา
ในตอนนี้จนถึงเดือนกันยายน และสามารถมองว่าในตอนนี้การเติบโต 230% จึงเป็นอัตราที่สุด
และช่วงปลายปีเป็นช่วงเวลาของการจำหน่ายรถยนต์ไฟฟ้า แต่ทั้งหมดนี้กล่าวถึงแค่ในส่วนของ Station ของ
รถยนต์ไฟฟ้ามีอัตราอยู่ที่ 700% ในปีหน้า

         ซึ่งส่วนของตรงนี้จึงเป็นโจท์ของ Operator จะมีแผนการของเฟสแรกส่วนแฟจี้ของ EVOLT ส่วนของแฟจี้ของ EVOLT เป็นบริษัทเอกชนมองในเรื่องของการลงทุนและการคุ้มทุนเป็นหนึ่งในปัจจัยรวมทั้งความพึงพอใจเรื่องของราคาเป็นอีกปัจจัยหนึ่ง ในส่วนของเฟสแรกจะเน้นเรื่องของ AC ที่จะอยู่ใน คอมมูนิตี้ มอลล์, Office Building ที่เป็นส่วนของ Destination ทาง EVOLT มี Plan ที่จะที่ DC ให้มีมากขึ้นเพื่อเป็นผู้ Support ให้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอื่น ๆ เป็นหนึ่งในทางเลือกเป็นส่วนที่ดีของโมเดลร่วมลงทุนจะลดในเรื่องของการลงทุนและอุปสรรคส่วนของที่ต้องติดต่อ landlord หรือ เจ้าของที่เองเพื่อให้เจ้าของที่มาร่วมลงทุนและด้านการให้บริการจะมีขั้นตอนที่ง่ายขึ้น

         ซึ่งในส่วนของทาง EVOLT ในปัจจุบันมีสถานีทั้งอยู่ที่ 250 – 300 สถานี ส่วนของปีหน้ามีโครงการที่จะเพิ่มเป็น 3,000 สถานี ส่วนของปีปัจจุบันมีกลยุทธ์ในการขยายมีทั้งที่เอกชนลงทุนเอง Process ใช้ระยะเวลานาน
ถ้าหากผู้ประกอบการแต่แหล่งมีความสนใจลงทุนสามารถเข้าเจรจากันในเรื่องของศักยภาพของแต่ละพื้นที่,
ช่วย Prime, ช่วยออกแบบ ในการลงทุนเพื่อขยายให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ 3,000 สถานี ซึ่งอาจเริ่มใกล้เคียง
1,000 สถานี
เพื่อเป็นตอบโจทย์ในส่วนนี้

         และมาถึงในส่วนของทาง ElexaEV มีสถานีอยู่ที่ประมาณ 130 สถานี มีการตั้งเป้าหมายไว้ที่ 300 สถานี
มี Plan ที่ต้องการให้ถึง ซึ่งทางฝั่ง กฟผ.หรือ EGAT มีแพลมฟอร์มที่ช่วยในการขยายสถานีชาร์จสามารถเข้ามาร่วมลงทุนเหมือนกันมีเป้าหมายที่จะขยายสถานีชาร์จให้มากที่สุดทั้งเอกชนและภาครัฐส่วนอื่นส่วนของทางฝั่ง Operator
ซึ่งจะมี Deliver ส่วนนี้จะทำออกมาให้ดีที่สุดขยายให้มากที่สุดในปีนี้

         ซึ่งในส่วนของการร่วมลงทุนสถานีชาร์จ อาทิ DC มีจำนวนเยอะ ส่วน AC ยังมีจำนวนน้อย ล้วนเป็นการลงทุนที่หวังผลกำไลตอบแทนในระยะเวลาของการคืนทุน ส่วนของ AC ใช้เวลาประมาณ 4 ปี เป็นอย่างต่ำ จึงมองว่าโมเดทนี้เป็นสิ่งที่ดีมากสำหรับธุรกิจที่มีอยู่ก่อนแล้วและทำเป็นธุรกิจใหม่จากมุ่งมองทั้ง 2 อย่าง ต่างก็เป็นโอกาสทั้งคู่ขึ้นอยู่กับเป้าหมายของการลงทุน อาทิ เพื่อผลกำไล, มาเป็นส่วนเสริมในธุรกิจ, มีพื้นว่างแล้วต้องจะเข้ามาในธุรกิจนี้
จึง Develop ที่มากไปแต่ควรมาพัฒนาร่วมกับ Operator ก่อน หากเกิดความมั่นใจมากขึ้นสามารถกลาย Operator ใหม่ที่สามารถดึงดูดและคอย Support รายอื่น ๆ เป็นไปตามเป้าหมายของแต่ละบุคคลถือว่าเป็นการ Journey ของบุคคล การลงทุนแบบนี้เป็นการสร้าง Traffic ขึ้นมากับธุรกิจหลักดีกว่าธุรกิจในการให้บริการชาร์จเพียงอย่างเดียวเพราะตู้ DC มูลค่า 1.5 ล้านบาท ซึ่งคิดแค่ต่อหนึ่งตู้ยังไม่รวมค่าใช้จ่ายในส่วนของอุปกรณ์อื่น

         ซึ่งผู้ให้บริการทั้งของภาครัฐและเอกชนที่มาความมั่นใจในช่วงที่สถานการณ์ยังไม่มั่นคงเพื่อผู้คนหันมาใช้
รถยนต์ไฟฟ้าและเป็นความเสี่ยงของผู้ให้บริการยังต้องแบกรับอยู่

         ในส่วนของธุรกิจแบบ DC ต้องนึกถึงปัจจัยในการเข้ามาทำธุรกิจ DC ว่ามีความพร้อมขนาดไหน อาทิ สิ่งอำนวยความสะดวก เพราะธุรกิจ DC ใช้เงินลงทุนที่สูง จึงต้องคำนึงถึงสถานที่ตั้งและแหล่งจ่าย คือ ซอฟไฟจากไฟฟ้า
แรงสูง ล้วนเป็นปัจจัยในการที่จะลงทุนจึงขึ้นอยู่กับเป้าหมายของบุคคลนั้น ๆ ในกรณีตามโรงแรมหรือร้านขายของฝากที่อยากลงทุนก็ต้องมองด้วยว่าแหล่งจ่ายซอฟไฟของเดิมเพียงพอที่ทำหรือถ้าไม่เพียงพอก็ต้อง
มีการปรับมอแปลงเพิ่มเติมแต่ผลที่ตามมาถือการเพิ่ม Traffic เพิ่มกลุ่มลูกค้ามากขึ้น

         ซึ่งในการที่จุดชาร์จเป็นส่งเสริมธุรกิจดั้งเดิมส่วนที่จะพร้อมลงทุนแบบ AC หรือ DC ขึ้นอยู่กับความพร้อมของตัวเงินลงทุน การเริ่มต้นแบบ AC ลงทุนอยู่ที่ประมาณ 50,000 บาท ขนาด 7.4 kW สำหรับบุคคลที่อยากทดลองก่อน

         บทสรุปแล้วอยากมองถึงความ Active ของตลาดให้การถามตอบและช่วยหาทางแก้ปัญหาหรือมามองเรื่องของเทคโฮล์เดอร์ส่วนของ Infrastructure ทำอย่างไรจะแก้ Pain Point ซึ่งต้องการมองถึงความ Active อยู่ตลอด
ซึ่งมีในหลายข้อคิดเห็นที่รอคำตอบเพื่อที่จะทำให้ตลาดขยายตัวใหญ่ขึ้นทั้งด้านสิ่งแวดล้อมและด้านของประเทศ

         ซึ่งในแต่ละภาคส่วนทั้งรัฐและภาคอื่น ๆ ในนโยบาย 30 / 30 เข้าสู่การใช้พลังงานสะอาด Carbon neutrality คือ การลดการใช้คาร์บอนภายในประเทศไทย ส่วน Operator ของทาง ElexaEV ที่ภาคใต้กระทรวงพลังงานก็ต้องมีการผลักดันในเรื่องของการใช้พลังงานสะอาด อาทิ กาพลังไฟ, ซอฟต่าง ๆ ที่เข้า รวมทั้งการเปลี่ยนผ่านการขนส่งมีความมั่นใจในเรื่องของแผนการขยายสถานี ในช่วงระยะเวลา 2 – 3 ปี มานี้มองถึง learning มองว่าตลาดมี
การเติบโตแคไหน ในสถานะผู้ให้บริการมีการปรับตัวทั้งในเรื่องของความต้องการตลาดรวมไปถึงพฤติกรรมการใช้ของลูกค้าด้วย ในส่วนของต่างประเทศเป็นแบบไหนของประเทศไทยก็ต้องมีการ Practice ปรับตัวกันเพื่อให้สุดท้ายแล้วเกิดการตอบโจทย์ของผู้ใช้ในประเทศไทย

         และนี้ก็คือเรื่องราวของการที่สถานีชาร์จที่ไม่เพียงพอรวมความคิดเห็นตอบคำถามของการแก้ไข
ปัญหาดังกล่าว หากท่านสนใจเรื่องราวนี้สามารถรับชมได้ที่คลิปด้านล่างนี้ และถ้าคุณชอบคลิปนี้ขอฝาก
กด LIKE กด SHARE กด SUBSCRIBE ที่ช่องของพวกเราด้วยนะครับ

Share

FOLLOW US


WELLDONE GUARANTEE

452 Pecthkraseam Rd. Laksong Bangkhae, Bangkok 10160
Email : welldone.guarantee@gmail.com Tel. 0889415944

Copyright © 2022 EV GUARANTEE All rights reserved.